บริการจัดจำหน่าย และนำเข้า แผงโซล่าเซลล์ และอุปกรณ์อย่างครบวงจร

เรามีทีมงานผู้เชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ทางสายนี้ สามารถลงตรวจสอบให้ลูกค้าได้ หากเกิดปัญหา เราเซอร์วิสได้ทันที
  • สินค้านำเข้าจากต่างประเทศ
  • บริการจัดส่งสินค้ารวดเร็ว
  • บริการหลังการขาย
รายการทั้งหมด

ทีมงาน และบรรยากาศ

PROJECT MANEGER

คุณเกสร เธอแม่นทุกตารางงาน ไม่พลาดการส่งมอบงาน ตรวจงานละเอียด เนียบที่สุด

SALES COORDINATOR

คุณไกรลาส นักขายมือหนึ่ง ที่ตามใจลูกค้า ได้ทุกอย่าง ลดราคาได้ ลดเลย

INTERIOR DESIGN

คุณ นิศรา นักออกแบบภายใน ที่ใช้สอยได้จริง สวยงาม ลงตัวทุกฟังก์ชันการใช้งาน

INTERIOR DESIGNER

คุณ ปราณีต นักออกแบบภายใน ที่ใช้สอยได้จริง และออกแบบภายนอกอาคาร ที่สวยงาม

FURNITURE BUILT IN DESIGNERS

คุณอดิสร นักออกแบบเฟอร์นิเจอร์บิ้วอิน เน้นประโยชน์การใช้สอยได้จริง

VDO
Praesentation

สนใจติดต่อทีมงานมืออาชีพ พร้อมให้บริการ 24 ชั่วโมง

รีวิวลูกค้าจริง K-SOLARCELL

ขอขอบคุณลูกค้าทุกท่านที่รีวิวให้ ทางเราจะพัฒนาการให้บริการดียิ่งขึ้นค่ะ

คุณจ๊อบ

" ออกแบบที่ทำงานได้สวยมาก ชอบๆ ไว้มีโอกาสขอใช้บริการออกแบบอีกครับ งานสวยมากๆครับ ok เลยเหมือนฝันที่อยากได้พอดีเลยครับ งานดีมีคุณภาพ ความรู้ความสามารถเยี่ยม ความใส่ใจในงานมากมาย "

26 พ.ย. 2558

คุณส้ม

" งานสวยมากๆค่ะ ok เลยเหมือนฝันที่อยากได้พอดีเลยคะ งานดีมีคุณภาพ ความรู้ความสามารถเยี่ยม ความใส่ใจในงานมากมาย ไว้มีโอกาสขอใช้บริการออกแบบอีกค่ะ "

10 ม.ค. 2563

คุณจุ้ย

" งานดีมีคุณภาพ ความรู้ความสามารถเยี่ยม ความใส่ใจในงานมากมาย งานสวยมากๆค่ะ ok เลยเหมือนฝันที่อยากได้พอดีเลยคะ ไว้มีโอกาสขอใช้บริการออกแบบอีกค่ะ "

26 พ.ย. 2558

FURNITURE DESIGN

ให้คำปรึกษาเรื่องเลือกซื้อสั่งทำเฟอร์นิเจอร์ โดยผู้เชี่ยวชาญ ประสบการณ์กว่า 20 ปี มีบริการออกแบบเฟอร์นิเจอร์บิ้วอินเฉพาะชิ้น เช่น เตียงนอน, ตู้โชว์, ตู้เสื้อผ้า, โซฟา, บาร์นั่ง โดยลูกค้าสามารถเลือกวัสดุเองได้ ตามความชอบที่ลูกค้าออกแบบมา

ค่าไฟฟ้าแพง ราคาแผงถูก ดันตลาดโซลาร์โตต่อ

นายนิเวช บุญวิชัย อุปนายกสมาคมผู้ประกอบการและช่างพลังงานแสงอาทิตย์ เปิดเผยว่า แนวโน้มการเติบโตของการติดตั้งแผงผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาที่อยู่อาศัย (โซลาร์รูฟท็อป) และพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดิน (โซลาร์ฟาร์ม) ยังคงเติบโตต่อเนื่อง โดยภาพรวมในปีนี้คาดว่าจะเติบโต 10-15% จากปีก่อน เนื่องจากราคาค่าไฟฟ้าของไทย ที่ยังคงมีอัตราสูงเฉลี่ยหน่วยละ 3.99 บาท ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการผลิตและรับซื้อ และที่สำคัญแผงโซลาร์ ซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มปรับตัวลดลงต่อเนื่อง จนถึงต้นปี 2567 จึงทำให้การติดตั้งมีการเติบโตในทุกภาคส่วน ทั้งธุรกิจ บ้านที่อยู่อาศัย และการรับซื้อจากภาครัฐ
 
“ราคาแผงโซลาร์ได้ทยอยลดลงตั้งแต่ช่วงกลางปีนี้และคาดว่าจะทรงตัวในระดับต่ำจนถึงต้นปี 2567 เนื่องจากกำลังการผลิตแผงฯ ค่อนข้างล้นตลาด โดยเฉพาะจีนผู้ผลิตรายใหญ่ของโลก มีกำลังผลิตเหลือเพราะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว ประกอบกับจีนมีเมกะโปรเจกต์ต่างๆลดลง โดยแผงโซลาร์ขณะนี้ มีราคาเฉลี่ยที่ 15-16 เซนต์/วัตต์ จากช่วง 2 ปีที่ผ่านมาอยู่ที่ 22-25 เซนต์/วัตต์ หรือ 1 เมกะวัตต์ (MW) มีต้นทุนติดตั้งรวมที่ 22 ล้านบาท จาก 25 ล้านบาท ทำให้เป็นโอกาสของผู้บริโภค”
 
ซึ่งต้นทุนที่ลดลง ส่งผลให้ผู้รับเหมาติดตั้งมีการแข่งขันที่รุนแรง โดยมีการจัดโปรโมชันให้ลูกค้า เช่น ลดค่าติดตั้ง มีของแถม และลดค่าไฟฟ้าให้กรณีเป็นการติดตั้งแบบ Private PPA คือการที่ผู้รับเหมาลงทุนติดตั้งโซลาร์เซลล์และบริหารจัดการให้ทั้งหมดแล้ว หักลบกับค่าไฟฟ้าที่เสนอให้เจ้าของหลังคาที่อยู่อาศัย ซึ่งปัจจุบันมีผู้รับเหมาติดตั้งที่เป็นรายใหญ่ 30 บริษัทมุ่งรับงานที่มีขนาดกำลังผลิตติดตั้งสูง และรายกลางและเล็กที่มีอยู่ 200 บริษัท เน้นติดตั้งโซลาร์ฯบ้านที่อยู่อาศัยและหลังคาโรงงานขนาดไม่ใหญ่มากนัก
ขณะที่นโยบายรัฐบาลที่หนุนรับซื้อไฟจากพลังงานหมุนเวียน (RE) และโซลาร์ภาคประชาชน ที่รับซื้อไฟฟ้าที่เหลือจากการใช้จากหลังคาบ้านที่อยู่อาศัยอัตรา 2.20 บาทต่อหน่วยนั้น นับว่ามีส่วนช่วยให้โซลาร์ฯเติบโตต่อเนื่อง และโซลาร์ฯก็มีส่วนสำคัญในการตอบโจทย์การซื้อขายคาร์บอนเครดิต ที่จะเอื้อให้กับผู้ส่งออกไทยที่จะส่งสินค้าไปยังสหภาพยุโรป (อียู) ซึ่งเริ่มคิกออฟมาตรการปรับคาร์บอนก่อนข้ามพรมแดน (CBAM) ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค.2566 กับสินค้านำร่อง 6 กลุ่มหลัก ซึ่งระยะต่อไปอาจจะกำหนดกับสินค้าเพิ่มเติม และประเทศอื่นๆอาจใช้มาตรการลักษณะเดียวกัน ทำให้พลังงานหมุนเวียน ซึ่งรวมถึงโซลาร์ฯ ยังมีทิศทางเติบโต.
 
อ้างอิง : https://www.thairath.co.th/money/economics/thailand_econ/2734845
26 เม.ย. 2565

ค่าไฟพุ่ง ตลาดโซลาร์เซลล์บูม 100% รับปี 67 “ทงเวย โซลาร์”ตั้งเป้ายอดขาย 500 เมกะวัตต์

แนวโน้มค่าไฟพุ่งรับปี 67 บวกราคาโซลาร์ถูกลง เอื้อคนไทยแห่ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์พุ่ง คาดปี67 ไทยมีกำลังผลิตติดตั้งถึง 4 GW โตเป็นเท่าตัวตัว “ทงเวย โซลาร์” ตั้งเป้ายอดขายมากกว่า 500 เมกะวัตต์ หรือคิดเป็นมูลค่า 2,500 ล้านบาท สู่แผน 3 ปี โกย 5,000 ล้านบาท
 
นายแจ๊ค สวี๋ ผู้อำนวยการฝ่ายบริการด้านเทคนิคตลาดต่างประเทศ บริษัท ทงเวย โซลาร์ หรือ TW SOLAR เปิดเผยว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ประเทศไทยเป็นหนึ่งในผู้นำในตลาดเซลล์แสงอาทิตย์ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยจากข้อมูลของ IHS พบว่าไทยมีกำลังการผลิตติดตั้ง 1.26 GW ในปี 2565 คิดเป็น 36% ของส่วนแบ่งตลาดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบกับการดำเนินนโยบายพลังงานสะอาดและ มาตรการจูงใจของประเทศไทยที่มีอย่างต่อเนื่อง จึงคาดว่ากำลังการผลิตติดตั้งไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ในไทยจะสูงถึง 2.17 GW ภายในปี 2566 และจะกลายเป็นตลาดโซลาร์เซลล์ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยโครงสร้างกำลังการผลิตติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์ของไทยนั้นการใช้งานในครัวเรือนมีสัดส่วนน้อยกว่า 1% แต่กำลังการผลิตติดตั้งในภาคอุตสาหกรรมและเชิงพาณิชย์สูงถึง 1.85 GW คิดเป็น 85% 
“ปีนี้ไทยมีกำลังการผลิตติดตั้งไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ราว 2 GW แต่จากแนวโน้มค่าไฟที่จะปรับตัวสูงขึ้น บวกกับอุปกรณ์แผงติดตั้งไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ที่มีราคาถูกลงมา รวมไปถึงนโยบาย คาร์บอนเครดิต ที่ภาคอุตสาหกรรมให้ความสำคัญ จึฃหันมาติดตั้งไฟฟ้าโซลาร์เซลล์มากขึ้น ส่ฃผลให้ปีหน้า คาดว่า ไทยจะมีกำลังการผลิตติดตั้งไฟฟ้าโซลาร์เซลล์เพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัง หรือจาก 2 GW เป็น 4 GW และเมื่อคิดเป็นมูลค่าแล้วจาก 5,000 ล้านบาท จะเพิ่มเป็น 10,000 ล้านบาทในปีต่อไป โดยสัดส่วยการติดตั้งนั้น จะเป็นกลุ่มครัวเรือน 25% โตขึ้น 50% และกลุ่มโรงงานและภาคอุตสาหกรรม อีก 75% และโตขึ้นมากกว่า 50%”
 
อย่างไรก็ตามหลังจากที่ทงเวยได้เริ่มทำการตลาดในประเทศไทย ตั้งแต่ไตรมาสที่ 2/2566 รวมเป็นระยะเวลากว่า 6 เดือน ทำให้มีส่วนแบ่งทางการตลาดอยู่ในอันดับต้นๆ ของประเทศไทย ซึ่งเกิดจากความเชื่อมั่นของผู้บริโภคชาวไทย ที่มีต่อผลิตภัณฑ์ของทงเวย บริษัทพลังงานแสงอาทิตย์แห่งแรกของโลกที่ติดอยู่ในลิสต์ Fortune Global 500 ทงเวยยังมีรากฐานที่แข็งแกร่งในห่วงโซ่อุตสาหกรรมแบบครบวงจร ได้รับการจัดอันดับให้เป็นที่หนึ่งของโลกในด้านวัสดุ และเซลล์ซิลิคอนเป็นเวลาหลายปีติดต่อกัน จากความล้ำหน้าทางเทคโนโลยีอุปกรณ์การผลิตระบบอัตโนมัติ และระบบอัจฉริยะอยู่ในระดับสูงสุดในอุตสาหกรรม PV ของโลก รวมถึงการคัดสรรวัสดุและการควบคุมคุณภาพอย่างเข้มงวด ทำให้ Tongwei Solar ก้าวขึ้นเป็นผู้นำในด้านโมดูลคุณภาพสูง นอกจากนี้ธุรกิจโมดูลโซลาร์เซลล์ของ Tongwei Solar ยังมีการเติบโตที่แข็งแกร่งนอกเหนือจากฐานการผลิตสี่แห่งที่มีอยู่ในเหอเฟย (Hefei) เหยียนเฉิง (Yancheng) จินถัง (Jintang) และหนานทง (Nantong) แล้ว Tongwei Solar ยังมีกำหนดจะเริ่มการผลิตที่ฐานซวงหลิว (Shuangliu) ภายในปี 2568 เพื่อเพิ่มกำลังการผลิตโดยรวมเป็น 100 กิกะวัตต์ ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางจากลูกค้าชาวไทย
จากการตอบรับที่ดีจากกลุ่มลูกค้า และแนวโน้มการเติบโตที่ดีของตลาดโซลาเซลล์ในประเทศไทย ทงเวยจึงได้เดินหน้าเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ “ทงเวย โซลาร์ G12R” ซึ่งถือเป็นผลิตภัณฑ์เรือธงที่จะทำการตลาดในประเทศไทย ปี 2567 โดยเป็นสินค้าในกลุ่ม N-Type (แผงซิลิคอนที่ผ่านกระบวนการโดปปิ้งด้วยสารฟอสฟอรัส phosphorus ทำให้มีคุณสมบัติเป็น ตัวส่งอิเล็กตรอนเมื่อได้รับพลังงานแสงอาทิตย์ ทำให้มีประสิทธิภาพมากกว่า และเสื่อมสภาพช้ากว่าแผงชนิดอื่นๆ) ใช้เทคโนโลยีแบตเตอรี่ประสิทธิภาพสูง TONGWEI TNC ประสิทธิภาพ การแปลงเฉลี่ยมากกว่า 26.1% ใช้การออกแบบซูเปอร์มัลติบัสบาร์ การตัดด้วยเลเซอร์แบบไม่สูญเสีย บรรจุภัณฑ์ที่มี ความหนาแน่นสูง และเทคโนโลยีอื่นๆ เพื่อลดความเสี่ยงของรอยแยกย่อยและเพิ่มประสิทธิภาพ 
 
ในแง่ของการออกแบบ G12R ได้รับการปรับปรุงโดยอิงจากซีรีส์ 182 แบบดั้งเดิม เมื่อพิจารณาถึงรูปแบบการขนส่งกระแสหลัก จะช่วยเพิ่มอัตราการ ใช้ตู้คอนเทนเนอร์ให้สูงสุดและลดต้นทุนการขนส่ง ด้วยการเพิ่มกำลังไฟฟ้า ต้นทุนรวมจะลดลง และด้วยจุดเด่นมาตรฐานของ แผงโซลาร์เซลล์ ( Photovoltaic : PV ) จากทงเวยซึ่งใช้ซิลิคอนที่ดีที่สุด ในการผลิตแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ มีความยืดหยุ่น ในการป้องกันรอยแตกขนาดเล็กจากอุณหภูมิที่สูงมากและต่ำ ที่เหมาะกับสภาพอากาศร้อนในประเทศไทย จึงมีความเชื่อมั่นว่า ผลิตภัณฑ์กลุ่ม G12R นี้จะสามารถตอบสนองความต้องการของการใช้งาน PV ที่หลากหลายในประเทศไทยได้เป็นอย่างดี ทั้งภาคครัวเรือน เชิงพาณิชย์ และภาคอุตสาหกรรม
ด้านนายแฟรงก์ เหยียน ผู้ร่วมก่อตั้งและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซันเดย์ โซลาร์ ซัพพลาย จำกัด ผู้นำเข้า จัดจำหน่าย และให้บริการติดตั้งอุปกรณ์โซลาร์เซลล์ ซึ่งเป็นตัวแทนจัดจำหน่ายรายใหญ่แต่เพียงรายเดียวในประเทศไทยของแบรนด์ “ทงเวย โซลาร์” กล่าวว่า ในปี 2566 กลุ่มลูกค้าของทงเวยในตลาดไทย ส่วนใหญ่มาจากลูกค้าในครัวเรือน อุตสาหกรรมและการพาณิชย์ และโรงไฟฟ้าภาคพื้นดินขนาดใหญ่ ซึ่งจากภาพรวมตลาดที่ผ่านมา ถือว่าได้รับการตอบรับดีจากลูกค้าชาวไทย และคาดว่าจะสามารถจำหน่ายโซลาร์เซลล์ได้ ไม่ต่ำกว่า 500 เมกะวัตต์ภายในปี 2567 คิดเป็นมูลค่ารายได้มากกว่า 2,000 ล้านบาท ที่ทำได้ในปีนี้ จากยอดขาย 400 เมกะวัตต์ และจะสร้างรายได้กว่า 5,000 ล้านบาท ภายใน 3 ปี
 
โดยแผนการตลาดในปีหน้า ทั้งทงเวยและซันเดย์ โซลาร์ ซัพพลาย ซึ่งผู้จัดจำหน่ายเชิงกลยุทธ์ จะยังคงร่วมกันเสริม ความแข็งแกร่งในตลาดไทยผ่านความร่วมมืออย่างใกล้ชิด เพื่อให้บริการพลังงานที่สะดวกและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งกลุ่มลูกค้าในภาคอุตสาหกรรม เชิงพาณิชย์ และภาคครัวเรือน โดยจะมีการดิจิทัลมีเดียมากยิ่งขึ้น เพื่อสื่อสารถึงประสิทธิภาพ และเสน่ห์ของแบรนด์ทงเวย นอกจากนี้จะติดตามโครงการโรงไฟฟ้าภาคพื้นดินในประเทศไทยอย่างใกล้ชิด เพื่อสนับสนุนระบบพลังงานไฟฟ้าของประเทศที่สำคัญ และส่งเสริมการพัฒนาพลังงานทดแทนในท้องถิ่น
อย่างไรก็ตามจากข้อมูลจาก IHS ซึ่งเป็นผู้ให้บริการข้อมูลเศรษฐกิจ-การลงทุนระดับโลกยังพบว่าประเทศไทยได้เข้าสู่ตลาดระดับ กิกะวัตต์ (GW) ตั้งแต่ปี 2565 โดยมีกำลังการผลิตติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์เพิ่มขึ้นเฉลี่ยประมาณ 2GW ต่อปีในช่วงปี 2566 ถึง 2573 ซึ่งบ่งชี้ว่ามูลค่าตลาดโดยรวมมีเสถียรภาพ ทำให้มีบริษัทเซลล์แสงอาทิตย์ระดับโลกจำนวนมากสนใจ เข้ามาทำตลาดในประเทศไทย การแข่งขันในตลาดเซลล์แสงอาทิตย์ของไทยจะรุนแรงมากขึ้นในอนาคต นอกเหนือจากการแข่งขันในด้านราคา รูปลักษณ์ และคุณภาพผลิตภัณฑ์แล้ว ประสิทธิภาพการแปลง และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจะเป็นจุดแข่งขันที่สำคัญ.
 
อ้างอิง : https://www.thairath.co.th/money/economics/thailand_econ/2734845
26 เม.ย. 2565

6 วิธีรักษาพื้นไม้เนื้อแข็ง ทำอย่างไรให้คงทน

พื้นไม้เนื้อแข็งเป็นสิ่งที่ทำให้บ้านดูสวยงามดูเป็นธรรมชาติ แต่ความสวยงามนั้น ต้องแลกมาด้วยราคาแพง อีกทั้งการดูแลรักษาก็ไม่ใช่เรื่องง่ายอีกด้วย ปัญหาจากการใช้ไม้เนื้อแข็งมาทำพื้น มีทั้งเรื่องของรอยขีดข่วน สีซีดจาง การดูดความชื้น การโก่งตัว บางครั้งก็มีปัญหาเชื้อราด้วย แต่หากเรารู้เทคนิคในการดูแล ปัญหาต่าง ๆ ก็สามารถป้องกันได้

1.รักษาอุณภูมิให้เย็น แม้ว่าการปิดแอร์ จะช่วยประหยัดค่าไฟฟ้าให้เราได้ แต่การปล่อยให้อุณภูมิในห้องร้อนเกินไป โดยเฉพาะในวันที่มีอากาศร้อนมาก ๆ จะทำให้พื้นไม้แข็งเสียหาย ดังนั้น ในวันที่มีอากาศร้อนจัด การเปิดแอร์ จะช่วยให้ยืดอายุให้กับพื้นไม้เนื้อแข็งได้
2.อย่าปล่อยให้มีความชื้น หากคุณอยู่ในที่ซึ่งมีสภาพอากาศชื้น ทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยรักษาพื้นไม้เนื้อแข็งได้ก็คือการใช้เครื่องดูดความชื้น เพื่อลดปริมาณความชื้นในอากาศ
3.อย่าให้แสงแดดส่องพื้นไม้เนื้อแข็งโดยตรง พื้นไม้บางชนิดก็ทนต่อแสงแดด แต่บางชนิดก็ไม่เป็นเช่นนั้น ดังนั้นการป้องกันด้วยการปิดม่านหน้าต่าง ไม่ให้แสงแดดส่องตรงก็จะช่วยได้
4.เปลี่ยนตำแหน่งเฟอร์นิเจอร์บ้าง การเปลี่ยนตำแหน่งเฟอร์นิเจอร์บ้างนั้น ไม่เพียงดีในแง่การไหลเวียนของพลังตามหลักฮวงจุ้ย แต่ยังดีต่อพื้นไม้ด้วย การเปลี่ยนตำแหน่งเฟอร์นิเจอร์ จะทำให้พื้นไม้ได้มีโอกาสสัมผัสอากาศ สัมผัสแสงอย่างทั่วถึง
5.ไม่ควรใส่รองเท้าเดินบนพื้นไม้ เพราะรองเท้านั้น จะนำเอาฝุ่น และสิ่งสกปรกเข้ามาในบ้าน และยังอาจจะทำให้พื้นไม้เป็นรอยขูดขีด ทั้งจากพื้นรองเท้า และจากเศษหินเศษอิฐที่อาจติดมากับรองเท้า
6.ซ่อมแซมพื้นเสียใหม่ หากพื้นไม้เนื้อแข็ง ถูกทำให้เสียหายในช่วงฤดูร้อนที่ผ่านมา เป็นการยากที่จะซ่อมแซมด้วยตัวเอง ซึ่งเมื่อเกิดความเสียหายขึ้นแล้วก็ต้องใช้ช่างผู้ชำนาญการเข้ามาแก้ไข แต่ควรรอให้หมดช่วงฤดูกาลที่อากาศร้อนจัด แดดจัดเสียก่อน

อ้างอิงเนื้อหาจาก
www.bconinterior.com/6-วิธีรักษาพื้นไม้เนื้อแ/
26 เม.ย. 2565

ติดต่อเรา

71/2-13 โครงการโอโซนพลาซ่า ห้อง H1C,H2C ถนนคู้บอน แขวงรามอินทรา เขตคันนายาว กรุงทพฯ 10230

Our Phone

Facebook

Our Line

ส่งข้อความหาเรา

ลูกค้าสามารถพิมพ์ข้อความที่ต้องการสอบถามได้จากฟอร์มด้านล่าง เมื่อทีมงานได้รับข้อความแล้ว จะติดต่อกลับลูกค้าโดยเร็วที่สุด

แผงโซล่า jinko 535w

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

เเผงโซล่าเซล์ jinko 460w

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

10 kw (3phase) อินเวอร์เตอร์

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

5kw (3phase) อินเวอร์เตอร์

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

5kw อินเวอร์เตอร์ on grid

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

3kw อินเวอร์เตอร์ on grid

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

1500w อินเวอร์เตอร์ carspa pure sine 24 v

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

1000w อินเวอร์เตอร์ carspa pure sine 24 v

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

1000w อินเวอร์เตอร์ carspa pure sine 12 v

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

600w อินเวอร์เตอร์ carspa pure sine 12v

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

รางอลูมิเนียม 4.8 เมตร

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

รางอลูมิเนียม 4.2 เมตร

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

ตัวต่อราง

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

ตัวยึดกลาง ระหว่างเเผง

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

battery deep cyele 3 k 135 Ah 12 v 3 k

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

battery deep cyele 3 k 125 Ah 12 v 3 k

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

battery deep cyele 3 k 80 Ah 12 v 3 k

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

charger cosuper 30ah 12/24 v auto

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

charger cosuper 20ah 12/24 v auto

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

charger cosuper 10ah 12/24 v auto

ลดค่าไฟได้มากกว่าปีละ 21,600 - 360,000 บ. คืนทุนใน 3-5 ปี ด้วยบริการติดตั้งโซล่าเซลล์ Solar Rooftop บนทุกสถานที่ เพราะเราเป็นผู้นำเข้าแผงโซล่าเซลล์ที่เป็น Global Brand โดยตรง

ค่าไฟฟ้าแพง ราคาแผงถูก ดันตลาดโซลาร์โตต่อ

นายนิเวช บุญวิชัย อุปนายกสมาคมผู้ประกอบการและช่างพลังงานแสงอาทิตย์ เปิดเผยว่า แนวโน้มการเติบโตของการติดตั้งแผงผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาที่อยู่อาศัย (โซลาร์รูฟท็อป) และพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดิน (โซลาร์ฟาร์ม) ยังคงเติบโตต่อเนื่อง โดยภาพรวมในปีนี้คาดว่าจะเติบโต 10-15% จากปีก่อน เนื่องจากราคาค่าไฟฟ้าของไทย ที่ยังคงมีอัตราสูงเฉลี่ยหน่วยละ 3.99 บาท ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการผลิตและรับซื้อ และที่สำคัญแผงโซลาร์ ซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มปรับตัวลดลงต่อเนื่อง จนถึงต้นปี 2567 จึงทำให้การติดตั้งมีการเติบโตในทุกภาคส่วน ทั้งธุรกิจ บ้านที่อยู่อาศัย และการรับซื้อจากภาครัฐ
 
“ราคาแผงโซลาร์ได้ทยอยลดลงตั้งแต่ช่วงกลางปีนี้และคาดว่าจะทรงตัวในระดับต่ำจนถึงต้นปี 2567 เนื่องจากกำลังการผลิตแผงฯ ค่อนข้างล้นตลาด โดยเฉพาะจีนผู้ผลิตรายใหญ่ของโลก มีกำลังผลิตเหลือเพราะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว ประกอบกับจีนมีเมกะโปรเจกต์ต่างๆลดลง โดยแผงโซลาร์ขณะนี้ มีราคาเฉลี่ยที่ 15-16 เซนต์/วัตต์ จากช่วง 2 ปีที่ผ่านมาอยู่ที่ 22-25 เซนต์/วัตต์ หรือ 1 เมกะวัตต์ (MW) มีต้นทุนติดตั้งรวมที่ 22 ล้านบาท จาก 25 ล้านบาท ทำให้เป็นโอกาสของผู้บริโภค”
 
ซึ่งต้นทุนที่ลดลง ส่งผลให้ผู้รับเหมาติดตั้งมีการแข่งขันที่รุนแรง โดยมีการจัดโปรโมชันให้ลูกค้า เช่น ลดค่าติดตั้ง มีของแถม และลดค่าไฟฟ้าให้กรณีเป็นการติดตั้งแบบ Private PPA คือการที่ผู้รับเหมาลงทุนติดตั้งโซลาร์เซลล์และบริหารจัดการให้ทั้งหมดแล้ว หักลบกับค่าไฟฟ้าที่เสนอให้เจ้าของหลังคาที่อยู่อาศัย ซึ่งปัจจุบันมีผู้รับเหมาติดตั้งที่เป็นรายใหญ่ 30 บริษัทมุ่งรับงานที่มีขนาดกำลังผลิตติดตั้งสูง และรายกลางและเล็กที่มีอยู่ 200 บริษัท เน้นติดตั้งโซลาร์ฯบ้านที่อยู่อาศัยและหลังคาโรงงานขนาดไม่ใหญ่มากนัก
ขณะที่นโยบายรัฐบาลที่หนุนรับซื้อไฟจากพลังงานหมุนเวียน (RE) และโซลาร์ภาคประชาชน ที่รับซื้อไฟฟ้าที่เหลือจากการใช้จากหลังคาบ้านที่อยู่อาศัยอัตรา 2.20 บาทต่อหน่วยนั้น นับว่ามีส่วนช่วยให้โซลาร์ฯเติบโตต่อเนื่อง และโซลาร์ฯก็มีส่วนสำคัญในการตอบโจทย์การซื้อขายคาร์บอนเครดิต ที่จะเอื้อให้กับผู้ส่งออกไทยที่จะส่งสินค้าไปยังสหภาพยุโรป (อียู) ซึ่งเริ่มคิกออฟมาตรการปรับคาร์บอนก่อนข้ามพรมแดน (CBAM) ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค.2566 กับสินค้านำร่อง 6 กลุ่มหลัก ซึ่งระยะต่อไปอาจจะกำหนดกับสินค้าเพิ่มเติม และประเทศอื่นๆอาจใช้มาตรการลักษณะเดียวกัน ทำให้พลังงานหมุนเวียน ซึ่งรวมถึงโซลาร์ฯ ยังมีทิศทางเติบโต.
 
อ้างอิง : https://www.thairath.co.th/money/economics/thailand_econ/2734845

ค่าไฟพุ่ง ตลาดโซลาร์เซลล์บูม 100% รับปี 67 “ทงเวย โซลาร์”ตั้งเป้ายอดขาย 500 เมกะวัตต์

แนวโน้มค่าไฟพุ่งรับปี 67 บวกราคาโซลาร์ถูกลง เอื้อคนไทยแห่ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์พุ่ง คาดปี67 ไทยมีกำลังผลิตติดตั้งถึง 4 GW โตเป็นเท่าตัวตัว “ทงเวย โซลาร์” ตั้งเป้ายอดขายมากกว่า 500 เมกะวัตต์ หรือคิดเป็นมูลค่า 2,500 ล้านบาท สู่แผน 3 ปี โกย 5,000 ล้านบาท
 
นายแจ๊ค สวี๋ ผู้อำนวยการฝ่ายบริการด้านเทคนิคตลาดต่างประเทศ บริษัท ทงเวย โซลาร์ หรือ TW SOLAR เปิดเผยว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ประเทศไทยเป็นหนึ่งในผู้นำในตลาดเซลล์แสงอาทิตย์ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยจากข้อมูลของ IHS พบว่าไทยมีกำลังการผลิตติดตั้ง 1.26 GW ในปี 2565 คิดเป็น 36% ของส่วนแบ่งตลาดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบกับการดำเนินนโยบายพลังงานสะอาดและ มาตรการจูงใจของประเทศไทยที่มีอย่างต่อเนื่อง จึงคาดว่ากำลังการผลิตติดตั้งไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ในไทยจะสูงถึง 2.17 GW ภายในปี 2566 และจะกลายเป็นตลาดโซลาร์เซลล์ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยโครงสร้างกำลังการผลิตติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์ของไทยนั้นการใช้งานในครัวเรือนมีสัดส่วนน้อยกว่า 1% แต่กำลังการผลิตติดตั้งในภาคอุตสาหกรรมและเชิงพาณิชย์สูงถึง 1.85 GW คิดเป็น 85% 
“ปีนี้ไทยมีกำลังการผลิตติดตั้งไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ราว 2 GW แต่จากแนวโน้มค่าไฟที่จะปรับตัวสูงขึ้น บวกกับอุปกรณ์แผงติดตั้งไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ที่มีราคาถูกลงมา รวมไปถึงนโยบาย คาร์บอนเครดิต ที่ภาคอุตสาหกรรมให้ความสำคัญ จึฃหันมาติดตั้งไฟฟ้าโซลาร์เซลล์มากขึ้น ส่ฃผลให้ปีหน้า คาดว่า ไทยจะมีกำลังการผลิตติดตั้งไฟฟ้าโซลาร์เซลล์เพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัง หรือจาก 2 GW เป็น 4 GW และเมื่อคิดเป็นมูลค่าแล้วจาก 5,000 ล้านบาท จะเพิ่มเป็น 10,000 ล้านบาทในปีต่อไป โดยสัดส่วยการติดตั้งนั้น จะเป็นกลุ่มครัวเรือน 25% โตขึ้น 50% และกลุ่มโรงงานและภาคอุตสาหกรรม อีก 75% และโตขึ้นมากกว่า 50%”
 
อย่างไรก็ตามหลังจากที่ทงเวยได้เริ่มทำการตลาดในประเทศไทย ตั้งแต่ไตรมาสที่ 2/2566 รวมเป็นระยะเวลากว่า 6 เดือน ทำให้มีส่วนแบ่งทางการตลาดอยู่ในอันดับต้นๆ ของประเทศไทย ซึ่งเกิดจากความเชื่อมั่นของผู้บริโภคชาวไทย ที่มีต่อผลิตภัณฑ์ของทงเวย บริษัทพลังงานแสงอาทิตย์แห่งแรกของโลกที่ติดอยู่ในลิสต์ Fortune Global 500 ทงเวยยังมีรากฐานที่แข็งแกร่งในห่วงโซ่อุตสาหกรรมแบบครบวงจร ได้รับการจัดอันดับให้เป็นที่หนึ่งของโลกในด้านวัสดุ และเซลล์ซิลิคอนเป็นเวลาหลายปีติดต่อกัน จากความล้ำหน้าทางเทคโนโลยีอุปกรณ์การผลิตระบบอัตโนมัติ และระบบอัจฉริยะอยู่ในระดับสูงสุดในอุตสาหกรรม PV ของโลก รวมถึงการคัดสรรวัสดุและการควบคุมคุณภาพอย่างเข้มงวด ทำให้ Tongwei Solar ก้าวขึ้นเป็นผู้นำในด้านโมดูลคุณภาพสูง นอกจากนี้ธุรกิจโมดูลโซลาร์เซลล์ของ Tongwei Solar ยังมีการเติบโตที่แข็งแกร่งนอกเหนือจากฐานการผลิตสี่แห่งที่มีอยู่ในเหอเฟย (Hefei) เหยียนเฉิง (Yancheng) จินถัง (Jintang) และหนานทง (Nantong) แล้ว Tongwei Solar ยังมีกำหนดจะเริ่มการผลิตที่ฐานซวงหลิว (Shuangliu) ภายในปี 2568 เพื่อเพิ่มกำลังการผลิตโดยรวมเป็น 100 กิกะวัตต์ ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางจากลูกค้าชาวไทย
จากการตอบรับที่ดีจากกลุ่มลูกค้า และแนวโน้มการเติบโตที่ดีของตลาดโซลาเซลล์ในประเทศไทย ทงเวยจึงได้เดินหน้าเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ “ทงเวย โซลาร์ G12R” ซึ่งถือเป็นผลิตภัณฑ์เรือธงที่จะทำการตลาดในประเทศไทย ปี 2567 โดยเป็นสินค้าในกลุ่ม N-Type (แผงซิลิคอนที่ผ่านกระบวนการโดปปิ้งด้วยสารฟอสฟอรัส phosphorus ทำให้มีคุณสมบัติเป็น ตัวส่งอิเล็กตรอนเมื่อได้รับพลังงานแสงอาทิตย์ ทำให้มีประสิทธิภาพมากกว่า และเสื่อมสภาพช้ากว่าแผงชนิดอื่นๆ) ใช้เทคโนโลยีแบตเตอรี่ประสิทธิภาพสูง TONGWEI TNC ประสิทธิภาพ การแปลงเฉลี่ยมากกว่า 26.1% ใช้การออกแบบซูเปอร์มัลติบัสบาร์ การตัดด้วยเลเซอร์แบบไม่สูญเสีย บรรจุภัณฑ์ที่มี ความหนาแน่นสูง และเทคโนโลยีอื่นๆ เพื่อลดความเสี่ยงของรอยแยกย่อยและเพิ่มประสิทธิภาพ 
 
ในแง่ของการออกแบบ G12R ได้รับการปรับปรุงโดยอิงจากซีรีส์ 182 แบบดั้งเดิม เมื่อพิจารณาถึงรูปแบบการขนส่งกระแสหลัก จะช่วยเพิ่มอัตราการ ใช้ตู้คอนเทนเนอร์ให้สูงสุดและลดต้นทุนการขนส่ง ด้วยการเพิ่มกำลังไฟฟ้า ต้นทุนรวมจะลดลง และด้วยจุดเด่นมาตรฐานของ แผงโซลาร์เซลล์ ( Photovoltaic : PV ) จากทงเวยซึ่งใช้ซิลิคอนที่ดีที่สุด ในการผลิตแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ มีความยืดหยุ่น ในการป้องกันรอยแตกขนาดเล็กจากอุณหภูมิที่สูงมากและต่ำ ที่เหมาะกับสภาพอากาศร้อนในประเทศไทย จึงมีความเชื่อมั่นว่า ผลิตภัณฑ์กลุ่ม G12R นี้จะสามารถตอบสนองความต้องการของการใช้งาน PV ที่หลากหลายในประเทศไทยได้เป็นอย่างดี ทั้งภาคครัวเรือน เชิงพาณิชย์ และภาคอุตสาหกรรม
ด้านนายแฟรงก์ เหยียน ผู้ร่วมก่อตั้งและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซันเดย์ โซลาร์ ซัพพลาย จำกัด ผู้นำเข้า จัดจำหน่าย และให้บริการติดตั้งอุปกรณ์โซลาร์เซลล์ ซึ่งเป็นตัวแทนจัดจำหน่ายรายใหญ่แต่เพียงรายเดียวในประเทศไทยของแบรนด์ “ทงเวย โซลาร์” กล่าวว่า ในปี 2566 กลุ่มลูกค้าของทงเวยในตลาดไทย ส่วนใหญ่มาจากลูกค้าในครัวเรือน อุตสาหกรรมและการพาณิชย์ และโรงไฟฟ้าภาคพื้นดินขนาดใหญ่ ซึ่งจากภาพรวมตลาดที่ผ่านมา ถือว่าได้รับการตอบรับดีจากลูกค้าชาวไทย และคาดว่าจะสามารถจำหน่ายโซลาร์เซลล์ได้ ไม่ต่ำกว่า 500 เมกะวัตต์ภายในปี 2567 คิดเป็นมูลค่ารายได้มากกว่า 2,000 ล้านบาท ที่ทำได้ในปีนี้ จากยอดขาย 400 เมกะวัตต์ และจะสร้างรายได้กว่า 5,000 ล้านบาท ภายใน 3 ปี
 
โดยแผนการตลาดในปีหน้า ทั้งทงเวยและซันเดย์ โซลาร์ ซัพพลาย ซึ่งผู้จัดจำหน่ายเชิงกลยุทธ์ จะยังคงร่วมกันเสริม ความแข็งแกร่งในตลาดไทยผ่านความร่วมมืออย่างใกล้ชิด เพื่อให้บริการพลังงานที่สะดวกและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งกลุ่มลูกค้าในภาคอุตสาหกรรม เชิงพาณิชย์ และภาคครัวเรือน โดยจะมีการดิจิทัลมีเดียมากยิ่งขึ้น เพื่อสื่อสารถึงประสิทธิภาพ และเสน่ห์ของแบรนด์ทงเวย นอกจากนี้จะติดตามโครงการโรงไฟฟ้าภาคพื้นดินในประเทศไทยอย่างใกล้ชิด เพื่อสนับสนุนระบบพลังงานไฟฟ้าของประเทศที่สำคัญ และส่งเสริมการพัฒนาพลังงานทดแทนในท้องถิ่น
อย่างไรก็ตามจากข้อมูลจาก IHS ซึ่งเป็นผู้ให้บริการข้อมูลเศรษฐกิจ-การลงทุนระดับโลกยังพบว่าประเทศไทยได้เข้าสู่ตลาดระดับ กิกะวัตต์ (GW) ตั้งแต่ปี 2565 โดยมีกำลังการผลิตติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์เพิ่มขึ้นเฉลี่ยประมาณ 2GW ต่อปีในช่วงปี 2566 ถึง 2573 ซึ่งบ่งชี้ว่ามูลค่าตลาดโดยรวมมีเสถียรภาพ ทำให้มีบริษัทเซลล์แสงอาทิตย์ระดับโลกจำนวนมากสนใจ เข้ามาทำตลาดในประเทศไทย การแข่งขันในตลาดเซลล์แสงอาทิตย์ของไทยจะรุนแรงมากขึ้นในอนาคต นอกเหนือจากการแข่งขันในด้านราคา รูปลักษณ์ และคุณภาพผลิตภัณฑ์แล้ว ประสิทธิภาพการแปลง และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจะเป็นจุดแข่งขันที่สำคัญ.
 
อ้างอิง : https://www.thairath.co.th/money/economics/thailand_econ/2734845

6 วิธีรักษาพื้นไม้เนื้อแข็ง ทำอย่างไรให้คงทน

พื้นไม้เนื้อแข็งเป็นสิ่งที่ทำให้บ้านดูสวยงามดูเป็นธรรมชาติ แต่ความสวยงามนั้น ต้องแลกมาด้วยราคาแพง อีกทั้งการดูแลรักษาก็ไม่ใช่เรื่องง่ายอีกด้วย ปัญหาจากการใช้ไม้เนื้อแข็งมาทำพื้น มีทั้งเรื่องของรอยขีดข่วน สีซีดจาง การดูดความชื้น การโก่งตัว บางครั้งก็มีปัญหาเชื้อราด้วย แต่หากเรารู้เทคนิคในการดูแล ปัญหาต่าง ๆ ก็สามารถป้องกันได้

1.รักษาอุณภูมิให้เย็น แม้ว่าการปิดแอร์ จะช่วยประหยัดค่าไฟฟ้าให้เราได้ แต่การปล่อยให้อุณภูมิในห้องร้อนเกินไป โดยเฉพาะในวันที่มีอากาศร้อนมาก ๆ จะทำให้พื้นไม้แข็งเสียหาย ดังนั้น ในวันที่มีอากาศร้อนจัด การเปิดแอร์ จะช่วยให้ยืดอายุให้กับพื้นไม้เนื้อแข็งได้
2.อย่าปล่อยให้มีความชื้น หากคุณอยู่ในที่ซึ่งมีสภาพอากาศชื้น ทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยรักษาพื้นไม้เนื้อแข็งได้ก็คือการใช้เครื่องดูดความชื้น เพื่อลดปริมาณความชื้นในอากาศ
3.อย่าให้แสงแดดส่องพื้นไม้เนื้อแข็งโดยตรง พื้นไม้บางชนิดก็ทนต่อแสงแดด แต่บางชนิดก็ไม่เป็นเช่นนั้น ดังนั้นการป้องกันด้วยการปิดม่านหน้าต่าง ไม่ให้แสงแดดส่องตรงก็จะช่วยได้
4.เปลี่ยนตำแหน่งเฟอร์นิเจอร์บ้าง การเปลี่ยนตำแหน่งเฟอร์นิเจอร์บ้างนั้น ไม่เพียงดีในแง่การไหลเวียนของพลังตามหลักฮวงจุ้ย แต่ยังดีต่อพื้นไม้ด้วย การเปลี่ยนตำแหน่งเฟอร์นิเจอร์ จะทำให้พื้นไม้ได้มีโอกาสสัมผัสอากาศ สัมผัสแสงอย่างทั่วถึง
5.ไม่ควรใส่รองเท้าเดินบนพื้นไม้ เพราะรองเท้านั้น จะนำเอาฝุ่น และสิ่งสกปรกเข้ามาในบ้าน และยังอาจจะทำให้พื้นไม้เป็นรอยขูดขีด ทั้งจากพื้นรองเท้า และจากเศษหินเศษอิฐที่อาจติดมากับรองเท้า
6.ซ่อมแซมพื้นเสียใหม่ หากพื้นไม้เนื้อแข็ง ถูกทำให้เสียหายในช่วงฤดูร้อนที่ผ่านมา เป็นการยากที่จะซ่อมแซมด้วยตัวเอง ซึ่งเมื่อเกิดความเสียหายขึ้นแล้วก็ต้องใช้ช่างผู้ชำนาญการเข้ามาแก้ไข แต่ควรรอให้หมดช่วงฤดูกาลที่อากาศร้อนจัด แดดจัดเสียก่อน

อ้างอิงเนื้อหาจาก
www.bconinterior.com/6-วิธีรักษาพื้นไม้เนื้อแ/